Workshop : เทคนิคพื้นฐานสำหรับการเจรจาต่อรอง รุ่นที่ 3

27 Jul 2024

บริการวิชาการ และแขนงวิชาจิตวิทยาสังคม

โครงการอบรมความรู้ทางจิตวิทยา หัวข้อ “เทคนิคพื้นฐานสำหรับการเจรจาต่อรอง รุ่นที่ 3”

 

 

คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอเชิญผู้สนใจเข้าร่วมโครงการอบรมความรู้ทางจิตวิทยา หัวข้อ “เทคนิคพื้นฐานสำหรับการเจรจาต่อรอง รุ่นที่ 3” ประจำปี 2567 ในวันเสาร์ที่ 27 กรกฎาคม 2567 เวลา 09.00 – 16.00 น. ณ ห้อง 809 ชั้น 8 อาคารบรมราชชนนีศรีศตพรรษ คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัชราภรณ์ บุญญศิริวัฒน์ ประธานแขนงวิชาจิตวิทยาสังคม คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นวิทยากร

 

 

 

 

“การเจรจาตอรอง” เปนสถานการณที่เกิดขึ้นไดเปนปกติในชีวิตประจําวัน ไมวาจะเปนการเจรจาตอรองภายใน ครอบครัว การเจรจาตอรองในการทํางาน หรือการเจรจาตอรองทางธุรกิจ เปนตน การเจรจาตอรองจึงกลายเปนเรื่องจําเปน เนื่องจากในปจจุบันองคกรตาง ๆ รวมถึงผูคนในสังคมมีความหลากหลายและความตองการที่แตกตางกัน ซึ่งในการติดตอประสานงานเพื่อการทํางานรวมกัน หรือการสรางความรวมมือตาง ๆ องคกรและกลุมคนเหลานี้ มักจะใชทักษะการเจรจา ตอรองเปนเครื่องมือในการหาจุดรวมที่แตละฝายพึงพอใจ ดังนั้น ผลที่เราคาดหวังวาจะไดรับจากการเจรจาตอรองจากทุกสถานการณ ถือเปนสิ่งที่เราตองคํานึงถึงเปนอันดับแรก ๆ เพื่อใหเราสามารถวางแผนการเจรจาตอรอง การประเมินสถานการณ รวมถึงเลือกใชขอมูล รูปแบบและวิธีการเจรจาตอรองที่เหมาะสม เพื่อใหการเจรจาในครั้งนั้นสําเร็จอยางมีประสิทธิภาพ บรรลุ ตามวัตถุประสงคที่วางไว และไมเกิดความขัดแยง

 

งานบริการวิชาการ รวมกับ แขนงวิชาจิตวิทยาสังคม คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จึงจะจัดโครงการอบรมความรูทางจิตวิทยา หัวขอ “เทคนิคพื้นฐานสําหรับการเจรจาตอรอง” ขึ้น โดยมี ผูชวยศาสตราจารย ดร.วัชราภรณ บุญญศิริวัฒน ประธานแขนงวิชาจิตวิทยาสังคม เป็นวิทยากร เพื่อเปนการนําความรูดานจิตวิทยามาใชสําหรับเสริมทักษะการเจรจาตอรองใหแกผูสนใจทั่วไป โดยคาดหวังวาผูที่ผานการอบรมจะสามารถนําความรูและเทคนิคที่ไดจากการอบรมไปใชไดอยางมั่นใจ และประยุกตใชในชีวิตประจําวันเพื่อใหสามารถรับมือกับสถานการณตาง ๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ

 

 

ทั้งนี้ ผู้เข้าร่วมโครงการจะได้รับเกียรติบัตรการเข้าร่วมโครงการจากคณะจิตวิทยา

 

 

วิธีการฝึกอบรม
  • ภาคทฤษฎี – โดยการบรรยาย ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
  • ภาคปฏิบัติ – โดยการฝึกปฏิบัติ ระยะเวลา 3 ชั่วโมง

 

 

การอบรมมีอัตราค่าลงทะเบียน ท่านละ 4,000 บาท

 

 

 

เงื่อนไขการลงทะเบียน
  1. กรุณาชำระค่าลงทะเบียนเข้าร่วมงานก่อนกรอกแบบฟอร์มลงทะเบียน
  2. การส่งแบบฟอร์มลงทะเบียน จะต้องแนบหลักฐานการชำระเงินค่าลงทะเบียนมาด้วย จึงจะถือว่าการลงทะเบียนสมบูรณ์
  3. เมื่อผู้จัดงานได้ตรวจสอบการลงทะเบียนเรียบร้อยแล้ว จะแจ้งยืนยันการลงทะเบียนให้ทราบภายใน 3 วันทำการ
  4. บุคลากรของรัฐและหน่วยงานราชการที่ได้รับอนุมัติจากผู้บังคับบัญชาแล้ว สามารถเข้าร่วมการอบรมได้โดยไม่ถือเป็นวันลา และมีสิทธิเบิกค่าลงทะเบียนได้ตามระเบียบของทางราชการ
  5. ใบเสร็จรับเงินอิเล็กทรอนิกส์จะจัดส่งให้ทางอีเมลที่ท่านได้ลงทะเบียนไว้
  6. เมื่อชำระเงินค่าลงทะเบียนแล้ว จะไม่สามารถขอรับเงินคืนได้ทุกกรณี

 

 

———————————- ปิดรับลงทะเบียนแล้วค่ะ ———————————–

 

 

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ คุณวาทินี โทร. 02-218-1307 E-mail: wathinee.s@chula.ac.th

 

 


 

 

การเดินทางมายังคณะจิตวิทยา

 

อาคารบรมราชชนนีศรีศตพรรษ
ขนส่งสาธารณะ
BTS สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ ทางออก 2 แล้วเดินตรงเข้ามาทางประตูสนามนิมิบุตร ประมาณ 300 เมตร
รถเมล์ ป้ายสนามกีฬาแห่งชาติ / มาบุญครอง / โอสถศาลา

 

ที่จอดรถ
อาคารจอดรถ 4 ติดกับอาคารจุฬาพัฒน์ 14

 

แชร์คอนเท็นต์นี้